ยุคที่ ๓

ยุคที่ ๓

ยุคที่ ๓ : ขยายการศึกษา

 

           การจัดการศึกษาสำหรับทวยราษฎร์โดยหวังให้คนไทยได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง ที่ผ่านมายังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เพราะยังไม่ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษา ไม่ยอมส่งบุตรหลานให้เข้ารับการศึกษา ความพยายามที่จะขยายการศึกษาเพื่อทวยราษฎร์ ให้แพร่หลายออกไปทั่วพระราชอาณาจักร ทำให้ต้องมีพระราชบัญญัติบังคับเกี่ยวกับการเล่าเรียนเกิดขึ้น จนถึงกลายมาเป็นการศึกษาภาคบังคับ แม้ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง การให้ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาภาคบังคับยังมีอย่างต่อเนื่อง

           ๑. หลักสูตรสามัญ ร.ศ. ๑๓๐ (พ.ศ. ๒๔๕๔)

           ๒. ข้อบังคับเรื่องแบบเรียนที่จะใช้ในโรงเรียน

           ๓. แผนการศึกษา พ.ศ. ๒๔๕๖ และ ๒๔๕๘

           ๔. หลักสูตรหลวง หลักสูตรสามัญศึกษา พ.ศ. ๒๔๕๖

           ๕. พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. ๒๔๖๑

           ๖. พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔

           ๗. โครงการศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔

           ๘. หลักสูตรสามัญศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔

           ๙. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. ๒๔๗๑

           ๑๐. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๔๗๕

           ๑๑. พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๗๘

           ๑๒. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๔๗๙

           ๑๓. ประมวลศึกษา ภาค ๒ พ.ศ. ๒๔๘๐

           ๑๔. หลักสูตรประถมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๑

           ๑๕. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย พ.ศ. ๒๔๙๓

           ๑๖. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๔๙๔

           ๑๗. หลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๘

           ๑๘. หลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๘

           ๑๙. หลักสูตรประถมศึกษาสำหรับใช้ในโรงเรียนปรับปรุง ป. ๑ – ๒ พ.ศ. ๒๕๐๑

บทสรุป

นอกจากการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้มีความเหมาะสมกับสภาพและความเปลี่ยนแปลงของสังคมแล้ว เพื่อให้ประชาชนคนไทยได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงทุกภูมิภาคของประเทศและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย การออกกฎระเบียบต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ทั้งสำหรับผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาและประชาชนผู้ที่จะต้องปฏิบัติตาม รวมทั้งการจัดทำแผนการศึกษาชาติ เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและแนวทางการจัดการศึกษาของชาติ

 

ผู้เรียบเรียง อาจารย์สุชาติ  วงศ์สุวรรณ

อาจารย์พูนศรี  อิ่มประไพ